ว่าเป็นเจ้าของหรือเป็นส่วนหนึ่ง

บริษัทและองค์การจำนวนไม่น้อยทีเดียวครับที่พนักงานไม่รู้สึก ว่าเป็นเจ้าของหรือเป็นส่วนหนึ่งของบริษัท พฤติการณ์จึงแสดงออก ในทางที่ทำแต่หน้าที่ของตนเองไม่สนใจใครไม่ช่วยเหลือใครในสมอง รู้สึกอยู่แต่คำว่า “ไม่ใช่เรื่องของฉัน”
ทศนะเช่นนี้เป็นความคิดที่ลำหล้งเอาเสียจริง ๆ ครับในธุรกิจ ยุคใหม่นี้
เกิดปัญหาเข่นนี้ขึ้น จะทำอย่างไรดีดรับ
๑. สำหรับพนักงานใหม่ ต้องปลูกศรัทธาให้เขาเกิดความ เชื่อมั่นต่อบริษัทขึ้นมาให้เห็นว่าเขาเป็นส่วนสำค้ญ ต้องทำงานมุ่งไปสู่ จักรยานล้อโต
ความสำเร็จของบริษัทเป็นสำค้ญ ไม่ใช่ทำเพื่อหน่วยงานย่อยข0งตนเอง เท่านั้น
๒. ยกระดับความสามารถของพนักงานด้วยการแกฝนอบรม อย่างต่อเนื่อง ถือว่าการอบรมเป็นการลงทุนที่ถูกที่สุด แต่ไต้รับผล ตอบแทนสูงสุด
๓. ทำให้พนักงานทุกคนรับรู้ว่าหน่วยงานอื่น ๆ ในบริษัท เดียวกินต้องการความช่วยเหลือ ความร่วมมืออะไรบ้างที่จะสร้างเสริม ให้แก่กันและกัน เพื่อสร้างจิตสำนึกที่มีส่วนร่วมในความสำเร็จของ ทั้งบริษัท จักรยาน fat bike
ลองหนมาสำรวจธุรกิจกันดีไหมครับ มีปรากฏการณ์ทำนองนี้บ้างไหม
ลูกค้าโทรเข้าไปบริษัทเพื่อจะซี้อสินค้า เพราะชื่อเสียงว่าสินค้า คุณภาพดี ราคาเหมาะสม คนรับโทรศัพท์กรอกใส่หูมาว่า “ที่นี่แผนกบัญชี คุณต้องต่อใหม่”
ลูกค้าไปติดต่อบริษัทใหญ่แห่งหนึ่ง เป็นตึกแปดชั้น พอนำรถ เข้าไปจอดปรากฏว่า ที่จอดรถชั้น ๑-๗ เป็นของพนกงาน ส่วนลูกค้า จักรยาน
ให้1ปจอดชั้น ๘
รถค้นใหญ่ ค้นยาวที่จอดเกะกะทางขึ้นลงมากที่สุดคือรถของ ประธานบริษัทซึ่งจอดทิ๋งไว้ทั้งวน ส่วนรถที่ต้องเข้าออกประจำ ต้องเสีย ค่านี้ามันขึ้นชั้น ๘ คราวละ ๒ ลิตร
ร้านอาหารที่รสชาติยอดเยี่ยม พอลูกค้านำรถเข้าไปหาที่จอด ถามยาม “ตรงนี้จอดไดไหม” “ไม่ไต้” “ตรงนั้นละ” “ไม่ไต้” เป็นที่สงวน ไว้สำหรับผู้จัดการ ยามก็ไต้แต่โบกมือเปานกหวีดอยู่นั่น เพราะเป็นอดีต ทหารผ่านศึกมา คิดว่าสงครามยังไม่เลิก ยามไม่ไต้มารับรู้อะไรว่าผลแห่ง การปฏิเสธลูกค้าเช่นนั้น จะมีความหมายต่อธุรกิจมากแค่ไหน
นี่คือเรื่องที่เกิดขึ้นโดยไม่ตั้งใจของธุรกิจนั้น แต่ผลเสีย มหาศาล เป็นเรื่องเล็ก ๆ ที่ท็าให้ลูกค้าไม่ชอบใจ
เป็นเรื่องไม่สนุกเลยครับที่เราจะต้องขับรถขึ้นไปถึงชั้น ๘

จักรยาน fat bike

ใส่ความเห็น